Skip to main content
Thai Climate Justice Working Group logo

Thai Climate Justice Working Group

  • หน้าแรก
  • ปัญหา
  • ทางออก
  • ประเด็น
  • บอกต่อ
  • คลังข้อมูล
  • กิจกรรม
  • เกี่ยวกับเรา

กิจกรรม

สัมมนา "สังคมคาร์บอนต่ำที่เท่าเทียม: เป้าหมายและยุทธศาสตร์สำหรับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้"

Submitted by webmaster on Sat, 11/16/2013 - 20:53

* ดาวน์โหลดเอกสารนำเสนอในงานสัมมนาด้านล่าง *

* Download presentations, please scroll down *

สังคมคาร์บอนต่ำที่เท่าเทียม: เป้าหมายและยุทธศาสตร์สำหรับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

องค์กรร่วมจัด: คณะทำงานโลกเย็นที่เป็นธรรม (TCJ) ร่วมกับ เครือข่ายประชาชนเพื่อความเป็นธรรมด้านสภาพภูมิอากาศฟิลิปปินส์ (PMCJ) และ ประชาสังคมอินโดนีเซียด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (CSF-CJI)

วันจันทร์ที่ 18 พฤศจิกายน 2556  เวลา 9.00 – 16.00 น.
สถานที่: ห้องศรีตรัง, โรงแรมตรัง, กรุงเทพมหานคร  

คณะทำงานโลกเย็นที่เป็นธรรม (TCJ) ร่วมกับเครือข่ายประชาสังคมที่ทำงานด้านความเป็นธรรมทางสถาพถูมิอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ขอเชิญท่านเข้าร่วมการสัมมนา “สังคมคาร์บอนต่ำที่เท่าเทียม: เป้าหมายและยุทธศาสตร์สำหรับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” หรือ “Equitable and Low-Carbon Society: Aspiration and Strategies for Southeast Asia” งานสัมมนานี้มีเป้าหมายเพื่อให้ประชาสังคมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแม่โขง ได้ร่วมกันประเมินสถานการณ์และวิเคราะห์แนวทางรูปธรรมเพื่อสร้างสังคมคาร์บอนต่ำที่เท่าเทียมและยั่งยืนโดยไม่กระทบต่อเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ในแนวทางที่สอดคล้องกับหลักการ “system change not climate change” หรือ “การเปลี่ยนระบบ (เช่น วิธีคิด วีถีการผลิต วิถีการบริโภค) อย่ารอให้สภาพภูมิอากาศเปลี่ยน” 

ความสูญเสียที่เกิดจากมหันตภัยไต้ฝุ่นไห่หยานหรือโยลันดาที่เกิดขึ้นกับประเทศฟิลิปปินส์ กำลังเตือนเราถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างสุดขั้ว (extreme weather events) ที่จะเกิดบ่อยขึ้นอันเป็นผลกระทบต่อเนื่องจากภาวะโลกร้อน และในขณะเดียวกัน ช่วงสัปดาห์นี้เป็นช่วงที่รัฐบาลต่างๆ กำลังเจรจาในการประชุมภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ครั้งที่ 19 (UNFCCC COP19) ที่กรุงวอร์ซอร์ ประเทศโปแลนด์ เพื่อหาหนทางที่มนุษย์จะช่วยกันยุดภาวะโลกร้อนและปรับตัวให้เข้ากับสภาวะที่เกิดขึ้น ทั้งนี้ เมื่อปลายเดือนกันยายน 2556 คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) ซึ่งประกอบด้วยนักวิทยาศาสตร์จากทั่วโลก ส่งสัญญาณเตือนอย่างชัดเจนว่า “ภาวะโลกร้อนกำลังเกิดขึ้นในอัตราที่ไม่เคยเกิดมาก่อน และมนุษย์เป็นสาเหตุหลักของภัยพิบัตินี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากกิจกรรมที่มีการเผาไหม้เชื่อเพลิงฟอสซิลของมนุษย์” และถ้ายังปล่อยก๊าซเรือนกระจกในอัตราที่ดำเนินอยู่นี้ ภายใน 30 ปีที่ข้างหน้าอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกจะเพิ่มขึ้นเกิน 2 องศาเซลเซียส

กำหนดการ

09.00 – 09.30     นำเสนอเปิดงาน: 

วิกฤตโลกร้อนจากวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นจริงและนโยบาย – หากไม่แก้ตอนนี้จะรอถึงเมื่อไหร่?

โดย อลัน โกโรปิตัน, อาจารย์อาวุโส, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางทะเล, มหาวิทยาลัยเกษตรแห่งบอกอร์ ประเทศอินโดนีเซีย

9.30 – 10.00    พัก

10.00 – 12.00     ช่วงที่ 1: ประเด็นที่มีนัยยะสำคัญ เกี่ยวกับความเป็นธรรมด้านสภาพภูมิอากาศ (climate justice) และแนวทางการพัฒนาที่เป็นอุปสรรคต่อการสร้างสังคมคาร์บอนต่ำที่เท่าเทียม

นำเสนอ (ท่านละ 15 นาที)

1.1    หายนะภัยจากโลกร้อนในประเทศฟิลิปปินส์ - ผลกระทบจากมหาไต้ฝุ่นโยลันดา/ไห่เยี่ยน
โดย ฟาร่า เซวิญญ่า, Alyansa Tigil Mina (เครือข่ายหยุดเหมืองแร่ ฟิลิปปินส์)

1.2   ประชาชนฟ้องร้องหน่วยงานรัฐทำโลกร้อน – กรณีศึกษาจังหวัดซามารินดา, แขวงกะลิมันตันตะวันออก
โดย คาฮาร์ อัล บาฮฺรี, Gerakan Samarinda Menggugat (เครือข่ายประชาชนซามารินดาเพื่อการฟ้องร้อง)

1.3    การป้อนความต้องการอันไม่สิ้นสุดของภาคอุตสาหกรรมและพลังงานไทย
โดย ดร. อาภา หวังเกียรติ, วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยรังสิต

1.4    ผลกระทบจากรูปแบบการพัฒนาของกัมพูชาต่อวิถีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
โดย ตัวแทนจากภาคประชาสังคมกัมพูชา

1.5    ผลกระทบจากการพัฒนาและโลกร้อนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย
โดย รามอนันต์ วังเคียรักพัม (Ramananda Wangkheirakpam), และ วิเจย์ ธารัม (Vijay Taram), Northeast Peoples' Alliance (พันธมิตรประชาชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)

สนทนาวงเปิด: (45 นาที)
ผู้ดำเนินรายการ: ฮาร์ลี่ ฮาร์ลี่, ประชาสังคมอินโดนีเซียด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (CSF-CJI)

12.00 – 13.30     พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.30 – 16.00     ช่วงที่ 2: วิเคราะห์แนวทางรูปธรรมเพื่อนำไปสู่ความเป็นธรรมด้านเศรฐกิจและการสร้าง
        สังคมคาร์บอนต่ำที่เท่าเทียมสำหรับภูมิภาคเอเลียตะวันออกเฉียงใต้ 

2.1    การเมืองเบื้องหลังเสียงตอบรับของนานาชาติต่อวิกฤตโลกร้อน – เหตุใดยังตกลงกันไม่ได้เสียที?
โดย ปาโบล โซลอน, โฟกัสออนเดอะโกลบอลเซ้าท์

2.2    นโยบายโลกร้อนและเขตเศรษฐกิจพิเศษ กับเสียงสะท้อนและการตอบโต้ของภาคประชาชนอินโดนีเซีย
โดย เซลามัด ดารอยนิ, อินโดนีเซียด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (CSF-CJI)

2.3    ถ่านหินและพลังงานสกปรกในฟิลิปปินส์
โดย โรวิก โอบานิล, Freedom from Debt Coalition

2.4    คิดใหม่ระบบพลังงานไทย - ถึงเวลาเริ่มการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นรูปธรรม
โดย ฝ้ายคำ หาญณรงค์, คณะทำงานโลกเย็นที่เป็นธรรม และ สันติ โชคชัยชำนาญกิจ, กลุ่มจับตาพลังงาน 

2.5    ปกป้องสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง
โดย นวย ธิ คานฮฺ (Nguy Thi Khanh), กรีนไอดี เวียดนาม

2.6    ทางเลือกการพัฒนาคาร์บอนต่ำในอินเดีย
D. Raghunandan, Delhi Science Forum/All India Peoples Science Network (สภาวิทยาศาสตร์เดลลี และ เครือข่ายวิทยาศาสตร์ประชาชนอินเดีย) 

สนทนาวงเปิด: (60 นาที)
ผู้ดำเนินรายการ: คณะทำงานโลกเย็นที่เป็นธรรม (TCJ)

-------------------------------------------------------------------------------------------------------

 

* Download presentations, please scroll down *

“Equitable and Low-Carbon Society: Aspiration and Strategies for Southeast Asia”

Organizers: Thai Climate Justice Working Group (TCJ); Philippines Movement for Climate Justice (PMCJ); Civil Society Forum for Climate Justice Indonesia (CSF-CJI)

Dates: 18 November 2013   Time: 9.00hr – 16.00hr

Place/Venue: Sritrang Room, Trang Hotel, Bangkok, Thailand 

Thai Climate Justice Working Group (TCJ), the Philippines Movement for Climate Justice (PMCJ), and Civil Society Forum for Climate Justice Indonesia (CSF-CJI) would like to invite the public and media to a seminar “Equitable and Low-Carbon Society: Aspiration and Strategies for Southeast Asia”.  The seminar brings together climate justice movements in Southeast Asia and civil society in Mekong region and Northeast India to discuss how to pursue equitable and low-carbon development that will benefit the poor and marginalized population in developing countries, especially in the region while strengthening the message 'system change not climate change'.

While the losses from typhoon Haiyan/Yolanda in the Philippines is warning the world a type of consequences from more extreme weather events we should expect from the current climate crisis; world governments are gathering in Warsaw, in the 19th Conference of the Parties (COP19) to the United Nation Convention on Climate Change (UNFCCC), to discuss how human should mitigate climate change and adapt to it.  The  Inter-government Panel on Climate Change (IPCC) Working Group 1 Report on Physical Science “Summary for Policymakers” released on 30th September 2013 sent a clear message from world scientists that global warming is happening at an unprecedented rate and human, especially through burning of fossil fuels, are the main cause of this catastrophe. At this pace, we are on path to exceed 2°C warming in the next 30 years. . 

The call to cut global greenhouse gases emissions is urgent. “Common But Differentiated Responsibility” or CBDR principle affirmed in the UNFCCC means that developed countries have historic responsibility to reduce emissions due to their historic use of global carbon budget. At the same time, developing countries, where their poor and marginalized populations are the majority of those who will be harshly affected by climate change, cannot be nonchalant to the common responsibility for climate mitigation.  On the other hand, growing populations with the rights to develop their living standards entail ever increasing demand for energy and resources and this has become one of the main centurial challenges for developing countries. Many, if not all, governments still pursue carbon-intensive development model based on fossil economy. However, this is clearly not a sustainable path for the planet. 

Agenda

09.00 – 09.30     Opening Presentation

Climate Crisis from science to reality and policy – If not now then when?

By Alan Frendy Koropitan, Senior Lecturer, Department of Marine Science and Technology, Bogor Agricultural University

Questions and Discussion (10 minutes)

 9.30 – 10.00    Break

10.00 – 12.00     Session1: Identify climate justice issues and threats to equitable and low-carbon society in Southeast Asia

To identify significant climate justice issues in the region. To take stock of current development trends which are major obstacles to emission cut as well as equitable & low-carbon society.

Presentations: (15 minutes each)

1.1    Climate disasters in the Philippines - update on super typhoon Haiyan/Yolanda
By Farah Sevilla, Alyansa Tigil Mina

1.2    Citizens lawsuit against government agencies on climate change - the case of Samarinda, East Kalimantan
By Kahar Al Bahri, Gerakan Samarinda Menggugat

1.3    Feeding unlimited industrial and energy demands in Thailand
By Arpa Wangkiat, Environmental Engineering, School of Engineering, Rangsit University

1.4    Impacts of Cambodia's development model on livelihoods and environment
By  representative from Cambodia civil society

1.5    Impacts of development and climate change in Northeast India
By Ramananda Wangkheirakpam, Northeast Peoples' Alliance 
and Vijay Taram,  Northeast Peoples' Alliance

Open discussion: (45 minutes)

Facilitator: Harli Harli, Civil Society Forum for Climate Justice Indonesia (CSF-CJI)

12.00 – 13.30     Lunch Break

13.30 – 16.00     Session 2: Analyse concrete pathways toward economic justice and low-carbon society in         Southeast Asia

To assess adequacy of current international responses, i.e. how each country or groups of countries respond to the urgency of emission cuts according to the Common but Differentiated Responsibility (CBDR) principle commonly agreed under the UNFCCC. To consolidate the idea of mitigation by developing countries particularly in Southeast Asia that will not hinder the goals and improving the living standards of its people. To analyse emission-cut targets; identify “false solutions” being pushed by governments. To identify “concrete areas” for practical and just transition toward equitable and low-carbon society.  

Presentations (15 minutes each):

2.1  Politics behind international responses to the climate crisis - why can't they decided?
By Pablo Solon, Focus on the Global South

2.2    Reflection and Response towards Economic Corridors and Climate Policies in Indonesia
By Selamat Daroyni, Civil Society Forum for Climate Justice Indonesia (CSF-CJI)

2.3 Coal and Dirty Energy in the Philippines
By Rovik Obanil, Freedom from Debt Coalition

2.4    Rethinking the energy system in Thailand – time for a concrete shift
By Faikham Harnnarong, Thai Climate Justice Working Group (TCJ) and Santi Choakchaichamnankit, Energy Watch

2.5    Protecting the Mekong Delta
By Nguy Thi Khanh, GreenID, Vietnam

2.6    Low carbon alternative development pathways in India
By D. Raghunandan, Delhi Science Forum/All India Peoples Science Network.

Open discussion: (60 mins) 

Facilitator: Thai Climate Justice Working Group (TCJ)

Attachments: 

กำหนดการ สัมมนา "สังคมคาร์บอนต่ำที่เท่าเทียม: เป้าหมายและยุทธศาสตร์สำหรับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้" 18 พย 2556
Agenda “Equitable and Low-Carbon Society: Aspiration and Strategies for Southeast Asia” 18November2013
Opening Presentation
1.1 Climate disasters: Impacts of Super typhoon Haiyan in the Philippines
1.2 Citizens lawsuit against government agencies on climate change -­ the case of Samarinda, East Kalimantan
1.3 Feeding unlimited industrial and energy demands in Thailand
1.4 Impacts of Cambodia's development model on livelihoods and environment By representative from Cambodia civil society
1.5 Impacts of development and climate change in Northeast India
2.1 Politics behind international responses to the climate crisis -­‐ why can't they decided?
2.2 Reflection and Response towards Economic Corridors and Climate Policies in Indonesia
2.3 Coal and Dirty Energy in the Philippines
2.5 Protecting the Mekong Delta
2.6 Low carbon alternative development pathways in India

กิจกรรมอื่นๆ

  • Climate Hangout #1: คนรุ่นใหม่ทำอะไรได้กับโลกร้อน
  • #BreakFree2016 #THClimate #NoCoal
  • ลาก่อยวินเทอร์ โลก-อีส-ออน-ไฟเออร์
  • ดูหนัง สนทนา จิบชา "รับลมหนาว เคล้าโลกร้อน"
  • Dark Side Of The City : ด้านมืดของเมือง
  • Press Briefing: สังคมไทยควรเรียนรู้อะไรจากกรณีแม่เมาะ?
  • ประชุมเชิงปฎิบัติการ “เชื่อมโยงโลกร้อน สู่ชุมชนในเขตป่า”
ดูทั้งหมด

Thai Climate Justice Working Group
คณะทำงานโลกเย็นที่เป็นธรรม